รัชกาล ที่ 5 พระ ราช กรณียกิจ ที่ สํา คั ญ

ศ. 2399 โดยคหบดีชาวลาวชื่อ นายวันดี ที่อพยพมาจากเวียงจันทน์ ภายหลังจากเจ้าอาวาสรูปสุดท้ ายมรณภาพ ทำให้ไม่มีใครสืบสานต่ อจนกลายเป็นวัดร้าง ต่อมาปี พ.

พระรูปในหลวงถ่ายกับเหล่าพระบรมวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ในอดีต | พลังจิต

วันปิยมหาราช วันที่ 23 ตุลาคม เป็นวันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เนื่องด้วยพระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ที่เป็นที่เคารพรักของทวยราษฎร์ ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณอเนกประการ ทั้งในการปกครองบ้านเมืองและพระราชทานความร่มเย็นเป็นสุขแก่ชนทุกหมู่เหล่า ทวยราษฎร์ทั้งปวงจึงน้อมใจแสดงความจงรักภักดี ด้วยการถวายพระนามว่า "พระปิยมหาราช" หรือพระพุทธเจ้าหลวง พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระนามเดิมว่า สมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ พระบรมราชสมภพ เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ. ศ. 2396 เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระนางเจ้าฟ้ารำเพยภมราภิรมย์ เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ. 2411 และบรมราชาภิเษกครั้งแรกเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ. 2411 ทรงพระนามว่า "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" พระราชกรณียกิจที่สำคัญ 1. การเลิกทาส เป็นพระราชกรณียกิจอันสำคัญยิ่ง ด้วยพระองค์ทรงเห็นว่ามีทาสในแผ่นดินเป็นจำนวนมากและลูกทาสในเรือนเบี้ยจะสืบต่อการเป็นทาสไปจนรุ่นลูกรุ่นหลานอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ถ้าไม่มีเงินมาไถ่ตัวเองแล้วต้องเป็นทาสไปตลอดชีวิต พระองค์จึงทรงมีพระราชหฤทัยแน่วแน่ว่าจะต้องเลิกทาสให้สำเร็จแม้จะเป็นเรื่องยากลำบาก 2.

"พิธีบรมราชาภิเษก" ครั้งหนึ่งในชีวิตที่คนไทยต้องเห็น - Bizpromptinfo

จ. ) ชั้น ๒ และทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท. ว. ) ชั้น ๒ พิเศษ [/FONT] [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif] สำหรับเจ้าจอมมารดาอ่อน พระสนมเอกได้รับพระราชทาน ท. [/FONT]ท่านเจ้าจอมมารดาอ่อน ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 29 มกราคม พ. ศ. 2512 สิริอายุ 102 ปี หมายเหตุ ด้วยความขอบคุณ ภาพต่าง ๆ จาก

มีความรู้มาฝาก ( 9 รัชกาลไทย ) - 0032401 | ห้องรวม | Ninekaow.com

ขั้นเตรียมพิธี 2. พิธีเบื้องต้น 3. พิธีบรมราโชวาท 4. พิธีเบื้องปลาย และ 5. เสด็จพระราชดำเนินเลียบพระนคร 1. ขั้นเตรียมพิธี มีการตักน้ำและตั้งพิธีเสกน้ำ สำหรับถวายเป็นน้ำอภิเษก และน้ำสรงมูรธาภิเษก สำหรับน้ำอภิเษกนั้น ต้นตำราให้ใช้น้ำจากสถานที่ สำคัญต่างๆ 18 แห่ง และทำพิธีเสกน้ำพระพุทธมนต์ ณ พุทธเจดีย์ที่สำคัญตามจังหวัดต่ างๆ ทั่วราชอาณาจักร แล้วส่งเข้ามาเจือปนเป็นน้ำมู รธาภิเษกให้พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวสรง และทรงรับน้ำอภิเษกในวั นพระราชพิธีราชาอภิเษกต่อไป พระพุทธเจดีย์ที่สำคัญที่ตั้งพิ ธีทำน้ำอภิเษก ทั้ง 18 แห่ง คือ จ. สระบุรี ที่ตั้งพระพุทธบาท, จ. พิษณุโลก ที่ตั้งวัดพระศรีมหาธาตุ, จ. สุโขทัย ที่ตั้งวัดพระมหาธาตุ, จ. นครปฐม ที่ตั้งพระปฐมเจดีย์, จ. นครศรีธรรมราช ที่ตั้งวัดพระมหาธาตุ, จ. ลำพูน ที่ตั้งวัดพระธาตุหริภุญชัย, จ. นครพนม ที่ตั้งวัดพระธาตุพนม จ. น่าน ที่ตั้งวัดพระธาตุแช่แห้ง, จ. ร้อยเอ็ด ที่ตั้งวัดบึงพระลานชัย, จ. เพชรบุรี ที่ตั้งวัดมหาธาตุ, จ. ชัยนาท ที่ตั้งวัดพระบรมธาตุ, จ. ฉะเชิงเทรา ที่ตั้งวัดโสธร, จ. นครราชสีมา ที่ตั้งวัดพระนารายณ์มหาราช, จ. อุบลราชธานี ที่ตั้งวัดศรีทอง, จ.

พระราชกรณียกิจ - รัชกาลที่ 6

  1. "พิธีบรมราชาภิเษก" ครั้งหนึ่งในชีวิตที่คนไทยต้องเห็น - Bizpromptinfo
  2. จรวจ สลาก 16 12 62 11
  3. ระบบ ไฟฟ้า ใน โรงงาน อุตสาหกรรม
  4. เสื้อสุพรรณบุรี เอฟซี 2018 ทีมเหย้า สีกรมท่า | Shoptoro เเหล่งรวมเสื้อบอลไทย ไทยลีก เเละแฟชั่นฟุตบอลที่ดีที่สุด
  5. เศรษฐสิริ แจ้งวัฒนะ-ประชาชื่น บ้านเดี่ยวใกล้ทางด่วนศรีสมาน จากแสนสิริ
  6. มอเตอร์ไซค์ ฟู้ ด ท รั ค

112 (พ. 2436) ทรงให้กระทรวงมหาดไทยรับผิดชอบกิจการพลเรือนเพียงอย่างเดียว และให้กระทรวงกลาโหมรับผิดชอบกิจการทหารเพียงอย่างเดียว ยุบกรม 2 กรม ได้แก่ กรมยุทธนาธิการ โดยรวมเข้ากับกระทรวงกลาโหม และกรมมรุธาธร โดยรวมเข้ากับกระทรวงวัง และเปลี่ยนชื่อกระทรวงเกษตรพานิชการ เป็น กระทรวงเกษตราธิการ ด้านการปกครองส่วนภูมิภาค มีการรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง ทำให้ไทยกลายมาเป็นรัฐชาติสมัยใหม่ โดยการลดอำนาจเจ้าเมือง และนำข้าราชการส่วนกลางไปประจำแทน ทรงทำให้นครเชียงใหม่ (พ. 2317-2442) รวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสยาม ตลอดจนทรงแต่งตั้งให้กรมหมื่นประจักษ์ศิลปาคม ไปประจำที่อุดรธานี เป็นจุดเริ่มต้นของการปกครองแบบเทศาภิบาล พ. 2437 ทรงกำหนดให้เทศาภิบาลขึ้นกับกระทรวงมหาดไทย ยกเลิกระบบกินเมือง และระบบหัวเมืองแบบเก่า (ได้แก่ หัวเมืองชั้นใน ชั้นนอก และเมืองประเทศราช) จัดเป็นมณฑล เมือง อำเภอ หมู่บ้าน ระบบเทศาภิบาลดังกล่าวทำให้สยามกลายเป็นรัฐชาติที่มั่นคง มีเขตแดนที่ชัดเจนแน่นอน นับเป็นการรักษาเอกราชของประเทศ และทำให้ราษฎรมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น พระองค์ยังได้ส่งเจ้านายหลายพระองค์ไปศึกษาในทวีปยุโรป เพื่อมาดำรงตำแหน่งสำคัญในการปกครองที่ได้รับการปฏิรูปใหม่นี้ และทรงจ้างชาวต่างประเทศมารับราชการในตำแหน่งที่คนไทยยังไม่เชี่ยวชาญ ทรงตั้งสุขาภิบาลแห่งแรกของประเทศที่ท่าฉลอม พ.