วิธี แจก ลูก สะกด คำ สระ อั ว

วิธีที่ดีที่สุดในการสอนภาษาไทยให้อ่านออกเขียนได้ คือ การสอนสะกดคำ แจกลูก ท่องจำและไล่หนังสือ และต้องอาศัยการเรียนการสอนแบบ "ฝึก ซ้ำ ย้ำ ทวน" การสอนให้อ่านออกเขียนได้ ประกอบด้วย (๑) สอนให้รู้จักพยัญชนะ (๒) สอนให้รู้จักสระ (๓) สอนให้สะกดคำแจกลูกคำในแม่ ก กา (๔) สอนให้ผันวรรณยุกต์คำในแม่ ก กา (๕) สอนให้อ่านเขียนคำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา (๖) สอนให้ผันวรรณยุกต์คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา (๗) สอนให้อ่านเขียนคำที่สะกดไม่ตรงมาตรา (๘) สอนให้อ่านเขียนคำควบกล้ำ (๙) สอนให้อ่านเขียนคำที่มีอักษรนำ (๑๐) สอนให้อ่านเขียนคำที่มีตัวการันต์ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ และคำที่มีลักษณะพิเศษ หลักในการเลือกคำมาใช้ฝึกสะกดคำและแจกลูก ๑. นำสระทุกเสียงมาให้ฝึกสะกดคำแจกลูก เพื่อให้ผ่านตา ผ่านหู คุ้นชินกับเสียงสระทุกเสียงเมื่อประสมกับพยัญชนะ ๒. นำพยัญชนะทุกเสียงมาฝึกสะกดคำแจกลูก เพื่อให้ผ่านตา ผ่านหู คุ้นชินกับเสียงพยัญชนะทุกเสียงเมื่อประสมกับสระ ๓. พยัญชนะบางตัวที่มีเสียงซ้ากัน เช่น ฃ ฅ ฆ ฐ ฑ ฒ ณ ญ ฎ ฏ ภ ศ ษ ฬ ยังไม่ต้องนำมาสะกดคำแจกลูก ๔. สระบางเสียงหรือพยัญชนะบางตัวเมื่อประสมกันแล้ว อาจไม่มีความหมายหรือไม่มีที่ใช้ ก็ให้เลือกบางส่วนมาฝึก พอให้เกิดความคุ้นชินเท่านั้น ๕.

คุณครูยุ้ย ภาษาไทยหรรษา

อ่านสระเสียงยาวก่อนสระเสียงสั้น ๒. เปลี่ยนพยัญชนะต้นและพยัญชนะท้าย ๓. นำคำที่อ่านมาจัดทำแผนภูมิการอ่าน เช่น วิธีการอ่านจะไม่สะกดคำแต่ให้อ่านเป็นคำตามสูตรของคำ เช่น อ่าน กา สูตรของคำ คือ -า นำพยัญชนะมาเติมและอ่านเป็นคำ การสะกดคำ เปลี่ยนพยัญชนะต้น เช่น กา ตา นา มา ดู ปู ถู หู เปลี่ยนพยัญชนะท้าย เช่น คาง คาน คาย คาว วาง วาน วาย วาว บ้าน สูตรของคำคือ -้า น เมื่อเปลี่ยนพยัญชนะต้น จะได้คำว่า ก้าน ป้าน ร้าน เป็นต้น การสะกดคำ หมายถึง การอ่านโดยนำเสียงพยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์ และตัวสะกดมาประสม เป็นคำอ่าน การสะกดคำ มีวิธีการสะกดคำหลายวิธี ถ้าสะกดคำเพื่ออ่านจะสะกดคำตามเสียง ถ้าสะกดคำ เพื่อเขียนจะสะกดคำตามรูป และการสะกดคำจะสะกดเฉพาะคำที่เป็นคำไทยและตัวสะกดตรงตามรูป ๑. วิธีการสะกดคำตามรูปคำ กา สะกดว่า กอ-อา-กา คาง สะกดว่า คอ-อา-งอ-คาง ร้าน สะกดว่า รอ-อา-นอ-ราน-ไม้โท-ร้าน ๒. วิธีการสะกดคำโดยสะกดแม่ ก กา ก่อน แล้วจึงสะกดมาตราตัวสะกด ทาง สะกดว่า ทอ-อา-ทา-ทา-งอ-ทาง บ้าน อ่านว่า บอ-อา-บา-บา-นอ-บาน-บาน-โท-บ้าน ๓. วิธีสะกดคำที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราตัวสะกด คำที่สะกดไม่ตรงตามมาตราตัวสะกดจะเป็น คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ เช่น คำที่มาจากภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร ภาษาอังกฤษ เป็นต้น วิธีการสอนอ่านและเขียนมีวิธีการ ดังนี้ ๓.

การพัฒนาทักษะการอ่านคำโดยการแจกลูกสะกดคำตามชุดฝึก - GotoKnow

ตัวอย่าง การ เขียน case study

การสอนแจกลูกสะกดคำ | นิเทศออนไลน์ byศน.นิภา

วันที่ 3 กรกฎาคม 2557 มีรายงานข่าว กรณีที่มีการแชร์ภาพแบบเรียนวิชาภาษาไทยของโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่ง ที่สอนเรื่องการอ่านภาษาไทย โดยมีการสอน "สะกดคำแบบเรียงตัว" ซึ่งแตกต่างไปจาก "การสอนอ่านแบบแจกลูกสะกดคำ" ที่เคยใช้กันมา ทั้งนี้ หนังสือเรียนของโรงเรียนเอกชนดังกล่าว ให้เด็กสะกดอ่านเรียงไปตามตัวอักษร โดยระบุว่าเพื่อให้เด็กเขียนได้รวดเร็วและถูกต้อง สามารถวางตำแหน่งของสระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ และตัวสะกดได้ถูกที่ ตัวอย่างการสะกดคำแบบเรียงตัว เช่น เก อ่านว่า เอ-กอ จำ อ่านว่า จอ-อำ-อา มือ อ่านว่า มอ-อือ-ออ เสื่อ อ่านว่า เอ-สอ-อือ-ไม้เอก-ออ เกี่ยวกับกรณีดังกล่าว ไทยรัฐออนไลน์ (5 ก. ค. 2557) รายงานว่า นายกมล รอดคล้าย เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ. ) กล่าวว่า ตนได้หารือกับสำนักวิชาการและมาตรฐานการเรียนรู้ และสถาบันการศึกษาภาษาไทย ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ. ) และผู้เกี่ยวข้องแจ้งว่า การสอนลักษณะดังกล่าวเป็นการสอนเพื่อการเขียน ไม่ใช่การสอนเพื่อการอ่าน ตามแบบที่โรงเรียนต่างๆ ในสังกัด สพฐ. สอนอยู่ ซึ่งรูปแบบการสอนดังกล่าวเป็นเทคนิคการสอนอย่างหนึ่ง ซึ่งไม่ผิด แต่ไม่ถูกหลักวิชาการ ซึ่งการสอนที่ถูกหลัก ควรสอนอ่านและสอนเขียนเหมือนกัน เช่น คำว่า เป็น อ่านว่า ปอ-เอะ-นอ = เป็น และเมื่อสอนให้เด็กเขียนในคำเดียวกัน เด็กจะเรียนรู้ได้เองว่าต้องเอาสระมาไว้ข้างหน้าก่อน ซึ่ง สพฐ.

เคล็ดไม่ลับ!สอนลูก อ่านคล่อง เขียนเป็น - สื่อการสอนฟรี.com

  1. การสอนแจกลูกสะกดคำ | นิเทศออนไลน์ byศน.นิภา
  2. การสะกดคำ | aakkawet209
  3. การพัฒนาทักษะการอ่านคำโดยการแจกลูกสะกดคำตามชุดฝึก - GotoKnow
  4. มิวสิควิดีโอ สอนกีต้าร์ เพลงง่าย คอร์ดง่าย EP.139 (ดวงเดือน - โจอี้ เดอะวอยซ์ | JOEY PHUWASIT )| ดนตรีไทย ให้บริการมิวสิควิดีโอมาตรฐาน - Music Thailand
  5. เคล็ดไม่ลับ!สอนลูก อ่านคล่อง เขียนเป็น - สื่อการสอนฟรี.com

การสะกดคำ | aakkawet209

การแจกลูกสะกดคำ - ThaiLanguage(ฺCNP)

เรือ ไฟเบอร์ 8 ฟุต ราคา

อักขรวิธีภาษาไทย VS อักขรวิธีภาษาอังกฤษ - มติชนสุดสัปดาห์

๓ การสะกดคำที่อักษรสูงนำอักษรต่อเดี่ยว หรืออักษรกลางนำอักษรต่ำเดี่ยว เช่น สง_ สน_ สม_ ผล_ กล_ ถง_ ตล_ เป็นต้น ให้ออกเสียงนำก่อน เช่น สน ออกเสียง สะหนอ สม ออกเสียง สะหมอ แล้วจึงสะกดคำเพื่อออกเสียงให้ถูกต้อง เช่น เสมอ สะกดว่า สะหมอ-เออ-สะ-เหมอ สนอง สะกดว่า สะหนอ-ออ-งอ-สะหนอง หรือจะสะกดคำแบบเรียงตัวพยัญชนะเพื่อมุ่งเขียนคำให้ถูกต้อง เช่น เสมอ สะกดว่า สอ-มอ-เออ-สะเหมอ สนอง สะกดว่า สอ-นอ-ออ-งอ-สะหนอง ๖. วิธีการสะกดคำที่สระเปลี่ยนรูปและลดรูป สระโอะ มีตัวสะกด จะลดรูป ลด สะกดว่า ลอ-โอะ-ดอ-ลด สระอะ มีตัวสะกด จะเปลี่ยนรูปเป็นไม้หันอากาศ วัน สะกดว่า วอ-อะ-นอ-วัน สระเอะ มีตัวสะกด จะเปลี่ยนรูปโดยใช้ไม้ไต่คู้ เป็ด สะกดว่า ปอ-เอะ-ดอ-เป็ด สระเออ มีตัวสะกด จะเปลี่ยนรูป เดิน สะกดว่า ดอ-เออ-นอ-เดิน สระแอะ มีตัวสะกด จะเปลี่ยนรูป แข็ง สะกดว่า ขอ-แอะ-งอ-แข็ง สระอัว มีตัวสะกด จะเปลี่ยนรูป ลวด สะกดว่า ลอ-อัว-ดอ-ลวด ๗. วิธีการสะกดคำที่มีตัวการันต์เป็นคำมาจากภาษาอื่น คำที่มีจากภาษาอื่น เช่น ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤตจะมีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราตัวสะกด การสะกดคำที่มีตัวการันต์จะให้อ่านเป็นคำ แล้วสังเกตรูปคำและรู้กฎเกณฑ์ตามหลักภาษาว่าคำที่มีตัวการันต์ พยัญชนะการันต์จะไม่ออกเสียง

ส่ง ของ กิน ผ่าน เค อ รี่

๑ ดูรูปคำและอ่านออกเสียงให้ถูกต้อง ๓. ๒ จำรูปคำและรู้ความหมายของคำ ๓. ๓ รู้หลักการสะกดคำ เช่น แม่ กง ใช้ ง สะกด แม่ กน ใช้ น ร ล ฬ ญ ณ แม่ กบ ใช้ บ ภ พ ป ฟ คำที่สะกดไม่ตรงไม่ตรงตามมาตราจะไม่สะกดคำ แต่ใช้หลักการสังเกตรูปคำและรู้หลักการ สะกดคำ เช่น คำว่า เหตุ ออกเสียงสะกดในแม่ กด ๔. วิธีการสะกดคำอักษรควบ มีวิธีการสะกดคำ ๒ วิธี คือ ๔. ๑ การสะกดคำเพื่ออ่าน จะมุ่งที่เสียงของคำด้วยการอ่านอักษรควบก่อนแล้วจึงสะกดคำ เช่น กราบ ออกเสียง กรฺอ-อา-บอ-กราบ ครอง ออกเสียง ครฺอ-ออ-งอ-ครอง ๔. ๒ การสะกดคำแบบเรียงพยัญชนะต้น วิธีนี้ใช้ในการสะกดคำเพื่อเขียน เช่น กรอง ออกเสียง กอ-รอ-ออ-งอ-กรอง ปลาย ออกเสียง ปอ-ลอ-อา-ยอ-ปลาย ๕. วิธีการสะกดคำอักษรนำ มีวิธีการสะกดคำดังนี้ ๕. ๑ ห นำ ย ร ล ว ให้ออกเสียงพยัญชนะนำก่อน เช่น หน ออกเสียง หนอ หย ออกเสียง หยอ เป็นต้น แล้วจึงสะกดคำ เช่น หยา สะกดว่า หยอ-อา-หยา หนู สะกดว่า หนอ-อู-หนู ให้เห็นว่าอักษรตัวแรก มีอิทธิพลต่ออักษรตัวที่สอง ส่วนการสะกดคำเพื่อมุ่งเขียนสะกดคำให้ถูกต้องอาจสะกดแบบเรียงพยัญชนะ เช่น หนู สะกดว่า หอ-นอ-อู-หนู ๕. ๒ อ นำ ย ให้ออกเสียง อย เป็นเสียง ย แล้วสะกดคำ เช่น อย่า สะกดว่า ยอ-อา-ยา- ยา-เอก-อย่า (ออกเสียง อย่า เพราะอิทธิพลของเสียง อ ที่เป็นอักษรนำ) หรือ ออ-ยอ-อา-ยา-ไม้เอก-อย่า หรือจำรูปคำทั้ง ๔ คำ ได้แก่ อย่า อยู่ อย่าง อยาก ๕.

เมื่อนักเรียนมีพัฒนาการด้านการอ่านมากขึ้น ควรลดการอ่านแบบแจกลูกลง คงไว้แต่เพียงการอ่านสะกดคำเท่านั้น เพื่อมิให้เขียนหนังสือผิด และควรเลิกอ่านสะกดคำเมื่อนักเรียนอ่านเป็นคำได้เองแล้ว