คุณธรรม จริยธรรม สำหรับ ผู้ บริหาร

๒๕๕๑ มาตรา ๗๘ กำหนดให้ "ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องรักษาจรรยาข้าราชการตามที่ส่วนราชการกำหนดไว้ โดยมุ่งประสงค์ให้เป็นข้าราชการที่ดี มีเกียรติและศักดิ์ศรีความเป็นข้าราชการ ประกอบกับประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน ข้อ ๑๓ (๔) กำหนดให้ "ก. " มีอำนาจหน้าที่ในการเผยแพร่และปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมให้เป็นที่รับทราบอย่างกว่าขวางทั้งในหมู่ราชการและประชาชน โดยจัดให้มีการศึกษาค่านิยมที่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติตามประมวลนี้ และดำเนินการแก้ไขปรับเปลี่ยนค่านิยมนั้น สำนักงาน ก. ได้ทำการศึกษาแนวทางการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม พบว่าการบังคับใช้กฎหมายอย่างเดียวไม่เพียงพอที่จะยับยั้งการกระทำผิดวินัย หรือการฝ่าฝืนประมวลจริยธรรมได้ แต่ต้องมีการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมอย่างเป็นระบบ ต่อเนื่อง และใช้เวลา เพื่อที่จะทำให้บุคลากรยอมรับและประพฤติปฏิบัติตามมาตรฐานคุณธรรมจริยธรรม และวินัยข้าราชการ จนเป็นความเชื่อและปฏิบัติตามจนเป็นวิถีปกติของการทำงานในองค์กร และกลายเป็นวัฒนธรรมองค์กรในที่สุด สำนักงาน ก.

การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ สำหรับครู :pen: (ความเป็นครู (Being a…

หลักธรรมาภิบาล กับ ผู้บริหารสถานศึกษา หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักการมีส่วนร่วม หลักความโปร่งใส หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า 22. การสร้างหลักธรรมาภิบาล ต้องสร้างให้ กระทาถูกต้อง เข้มแข็ง ยุติธรรม 23. คือ คุณธรรมของนักปกครองนักบริหารที่ดี(Good Governance) 1. หลักนิติธรรม (Rule of Law) การตรากฎหมาย กฎ ข้อบังคับต่างๆ ให้ทันสมัยและเป็นธรรม เป็นที่ยอมรับของ สังคม ไม่เลือกปฏิบัติ และสังคมยินยอมพร้อมใจปฏิบัติตามกฎหมายและกฎข้อบังคับ เหล่านั้น โดยถือว่าเป็นการปกครองภายใต้กฎหมาย มิใช่ตามอาเภอใจ หรือตามอานาจ ของตัวบุคคล 24. 2. หลักคุณธรรม ( Morality / Ethics) หมายถึง การยึดมั่นในความถูกต้องดีงาม สานึกในหน้าที่ของตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจริต จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบวินัย และเคารพในสิทธิของผู้อื่น 3. หลักความโปร่งใส (Transparency) หมายถึง การสร้างความไว้วางใจซึ่งกัน และกัน โดยมีการให้และการรับข้อมูลที่สะดวกเป็นจริง ทันเหตุการณ์ ตรงไปตรงมา มีที่มาที่ไปที่ชัดเจนและเท่าเทียม มีกระบวนการตรวจสอบความถูกต้องชัดเจนได้ 4. หลักการมีส่วนร่วมของประชาชน (Participation) หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนมี ส่วนร่วมรับรู้ และร่วมคิด ร่วมเสนอความเห็นในการตัดสินใจปัญหาสาคัญของประเทศในด้านต่าง ๆ เช่น การแจ้งความเห็น การไต่สวนสาธารณะ การประชาพิจารณ์ การแสดงประชามติ นอกจากนี้ ยังรวมไปถึงการร่วมตรวจสอบ และร่วมรับผิดชอบต่อผลของการกระทานั้น 25.

คุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักบริหาร - GotoKnow

1895 กฎมณเฑียรบาล จ. 720 และหลักจริยธรรมที่ได้จากพระราชดำริและพระราโชวาทของรัชกาลที่ 5 รวมทั้งโอวาทของข้าราชการระดับสูง ซึ่งระบุถึงหลักจริยธรรมที่ข้าราชการควรประพฤติไว้ทั้งสิ้น จากการกำหนดจรรยาข้าราชการตั้งแต่อดีตดังกล่าว แสดงให้เห็นว่ามีการให้ความสำคัญในเรื่องจรรยาข้าราชการเพื่อให้เป็นวิชาชีพที่เป็นที่ยอมรับของสาธารณชนมานาน ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เริ่มตั้งแต่ปลายปี พ. 2468 ได้มีการวางระเบียบข้าราชการพลเรือนให้เป็นระเบียบแบบแผน เพื่อให้ได้คนที่มีความรู้ความสามารถเข้ามารับราชการเป็นอาชีพ และให้ข้าราชการรักษาวินัย จึงได้มีการประกาศใช้ "พระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน" เป็นครั้งแรก เมื่อ พ.

จริยธรรมของผู้บริหาร

การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ข้าราชการพลเรือน | สำนักงาน ก.พ. (OCSC)

  1. ง่าย สะดวก ปลอดภัย จ่ายด้วย TOYOTA Wallet | TOYOTA BUZZ
  2. ราคา hp deskjet ink 111.html
  3. สาย usb c to hdmi
  4. จริยธรรมของผู้บริหาร
  5. ประกาศ ผล สอบ pre o net 2559

PROFESSIONAL STANDARDS AND ETHICS. • ต้องทำความดี (virtues) 1. ให้คิดว่าทุกคนเสมอกันกับเรา (Humility) ผู้บริหารต้องบริการประชาชนด้วยการ - ไม่ดูถูก - เป็นทุกข์เป็นร้อนด้วย (concern) - สุภาพ - ตอบสนอง (responsiveness) นึกถึงความรู้สึกของผู้อื่น ( empathy) นึกว่าเขาจะรู้สึกอย่างไร แล้วบริการอย่าให้ประชาชนรู้สึกเสียใจ รอบคอบ (Prudence) ใช้ความรอบคอบเป็นหลักปฏิบัติเพื่อป้องกันการละเมิดจริยธรรม และไม่ให้เสียหายแก่ประชาชน 4. กล้าทำดี (Moral Courage) บางคนอยากทำความดี แต่ไม่กล้า เพราะอาย กลัวจะเป็นคนแปลก ไม่มีใครเขาทำความดีอย่างนี้ ทางที่ถูกต้องเป็นคนกล้าที่จะทำความดีมีจริยธรรม แม้จะไม่มีคนอื่นทำก็ตาม • ต้องงดเว้นความชั่ว (Vices) ความชั่วดังต่อไปนี้ 1. ถือตัวเองเป็นใหญ่ (Self-Righteousness) คิดว่าตัวเองถูก คนอื่นไม่ถูก ให้คนอื่นทำให้ทำตามใจ ไม่ฟังผู้อื่น 2. มีกิเลส (Self-Indulgence) อยากได้เงินหรืออำนาจอย่างรุนแรง ทำให้คอรัปชั่น 3. ปกป้องปิดบังความผิดของตนเอง (Self-Protection) พยายามกลบเกลื่อนปิดบังความผิดของตนเอง แทนที่จะยอมรับและยินดีแก้ไข 4. หลอกตัวเอง (Self-Deception) เมื่อประพฤติผิดจริยธรรม ก็หาเหตุมาแก้ตัวหลอกตัวเองว่าตนไม่ผิด มองไม่เห็นบาปที่ตนก่อ เรื่องนี้เป็นการกระทำผิดจริยธรรมที่เกิดขึ้นมาก ตัวอย่างที่ 4 มีคำสอนในพุทธศาสนา กล่าวถึงจริยธรรมของผู้บริหารที่สามารถนำมาใช้ในการบริหารงานได้ คือ ก.

ตะกรุด หลวง พ่อ เสือ ดํา วัด ศรีนวล

นอกจากนี้ ยังเกิดจากการที่บุคคลได้เคยศึกษา หาความรู้ ฝึกฝน อบรม บ่มนิสัย และเคยปฏิบัติพัฒนาสภาวะความเป็นผู้นาที่ดี มาแต่ปาง ก่อน คืออดีตกาล จนหล่อหลอมบุคลิกภาพและสภาวะความเป็นผู้นาที่ดี ปลูกฝัง เพิ่มพูน อยู่ในจิตยิ่งขึ้นต่อ ๆ มาจนถึงปัจจุบัน คุณลักษณะของความเป็นผู้นาที่ดีเช่นนี้ เชื่อว่าเป็นศิลป์ (Arts) ซึ่ง ก็คือ บุญบารมี 6. คุณธรรม จริยธรรม สาหรับข้าราชการ ประกอบด้วย หลักธรรม 4 ประการ 1. หลักการครองตน 3. หลักการครองงาน 2. หลักการครองคน 4. หลักธรรมาภิบาล 7. - พึ่งตนเอง ขยันหมั่นเพียร มีความรับผิดชอบ - ประหยัดและเก็บออม - จัดการระเบียบวินัยและเคารพกฎหมาย - ปฏิบัติตามคุณธรรม - ความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 8. หลักการครองตน ประกอบด้วยหลักธรรม 1. เป็นผู้มีบุคลิกภาพที่ดี คือ มีสุขภาพกาย และ สุขภาพจิตที่ดี 1. 1 มีสุขภาพกายที่ดี คือ มีสุขภาพอนามัยที่ดี มีท่วงท่ากิริยา รวมทั้งการแต่งกาย ที่ สุภาพเรียบร้อย ดีงาม สะอาด และดูสง่างามสมฐานะ 1. 2 มีสุขภาพจิตที่ดี คือ เป็นผู้มีอัธยาศัยใจคอที่งาม เป็นคนดี มีศีลธรรม ได้แก่ - ผู้มีศรัทธา - ผู้มีศีล - ผู้มีสุตะ - ผู้มีจาคะ - ผู้มีวิริยะ - ผู้มีสติ - ผู้มีสมาธิ - ผู้มีปัญญา 9.

  1. ชัวร์ ล่าง 2 5.2.9
  2. คา สิ โน ส ตา ร์ เว กั ส
  3. ขาย รถ bmw series 3